จำนวนผู้เข้าชม

วันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหว

แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์การสั่นสะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลก เพื่อปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุล ซึ่งแผ่นดินไหวสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภัยพิบัติต่อบ้านเมือง ที่อยู่อาศัย สิ่งมีชีวิต ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิดจากการกระทำของมนุษย์ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าที่เกิดขึ้นเองจากธรรมชาติ นักธรณีวิทยาประมาณกันว่าในวันหนึ่ง ๆ จะเกิดแผ่นดินไหวประมาณ 1,000 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแผ่นดินไหวที่มีการสั่นสะเทือนเพียงเบา ๆ เท่านั้น คนทั่วไปไม่รู้สึก
แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (แนวระหว่างรอยต่อธรณีภาค) ทำให้เกิดการเคลื่อนตัวของชั้นหินขนาดใหญ่เลื่อน เคลื่อนที่ หรือแตกหักและเกิดการโอนถ่ายพลังงานศักย์ ผ่านในชั้นหินที่อยู่ติดกัน พลังงานศักย์นี้อยู่ในรูปคลื่นไหวสะเทือน จุดศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว (focus) มักเกิดตามรอยเลื่อน อยู่ในระดับความลึกต่าง ๆ ของผิวโลก เท่าที่เคยวัดได้ลึกสุดอยู่ในชั้นแมนเทิล
ส่วนจุดที่อยู่ในระดับสูงกว่า ณ ตำแหน่งผิวโลก เรียกว่า "จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว" (epicenter) การสั่นสะเทือนหรือแผ่นดินไหวนี้จะถูกบันทึกด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า ไซสโมกราฟ โดยการศึกษาเรื่องแผ่นดินไหวและคลื่นสั่นสะเทือนที่ถูกส่งออกมา จะเรียกว่า "วิทยาแผ่นดินไหว" (อังกฤษ: Seismology)
เนื้อหา
[ซ่อน]
• 1 แหล่งกำเนิด
• 2 สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว
o 2.1 แผ่นดินไหวจากธรรมชาติ
o 2.2 แผ่นดินไหวจากการกระทำของมนุษย์
• 3 คลื่นในแผ่นดินไหว
• 4 ขนาดและความรุนแรง
o 4.1 มาตราริกเตอร์
o 4.2 มาตราเมร์กัลลี
• 5 การพยากรณ์แผ่นดินไหว
• 6 ข้อปฏิบัติในการป้องกันและบรรเทาภัยจากแผ่นดินไหว
o 6.1 ก่อนเกิดแผ่นดินไหว
o 6.2 ขณะเกิดแผ่นดินไหว
• 7 ผลกระทบ
• 8 การป้องกันความเสียหาย
• 9 ความเชื่อในสมัยโบราณ
• 10 อ้างอิง
• 11 แหล่งข้อมูลอื่น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น